- ๑.
ความมีปัญญา
ย่อมรู้ได้จากการสนทนาธรรม
- สากจฺฉาย
ปญฺญา เวทิตพฺพา.
|
- ๒.
บิดามารดาพึงให้บุตรเรียนศิลปวิทยา
- ปตูเต
วิชฺชาสุ ฐาปย.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓.
สรรพวิทยา ควรเรียนรู้ให้หมด
- สพฺพํ
สุตมธีเยถ.
|
- ๔. ปัญญา
ย่อมเกิดเพราะการฝึกฝน
- โยคา เว
ชายเต ภูริ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๕.
ปัญญานั่นแหละ
ประเสริฐกว่าทรัพย์
- ปญฺญาว
ธเนน เสยฺโย.
|
- ๖.
ผู้ตั้งใจศึกษา ย่อมได้ปัญญา
- สุสฺสูสํ
ลภเต ปญฺญํ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๗. ปัญญา
เปรียบเสมือนเครื่องประดับแห่งตน
- ปญฺญา
นรานํ รตนํ.
|
- ๘. ปัญญา
เป็นแสงสว่างในโลก
- ปญฺญา
โลกสฺมิ ปชฺโชโต.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๙. คนโง่
มักตกอยู่ในอำนาจแห่งมาร
- อวิทฺทสู
มารวสานุวตฺติโน.
|
- ๑๐.
คนไม่พินิจพิจารณา
เป็นคนไม่มีปัญญา
- นตฺถิ
ปญฺญา อฌายิโน.
|
--------------- |
--------------- |
- ๑๑.
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญานั้นไม่มี
- นตฺถิ
ปญฺญาสมา อาภา.
|
- ๑๒.
คนย่อมเห็นแจ้งเนื้อความอย่างเด่นชัดด้วยปัญญา
- ปญฺญายตฺถํ
วิปสฺสติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๓.
คนย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา
- ปญฺญาย
ปริสุชฺฌาติ.
|
- ๑๔.
คนไร้ปัญญา
ไม่มีความพินิจพิจารณา
- นตฺถิ
ฌานํ อปญฺญสฺส.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๕.
ขึ้นชื่อว่าศิลปวิทยา
ดีทั้งนั้น
- สาธุ โข
สิปฺปกํ นาม.
|
- ๑๖.
คนมีปัญญา
เมื่อถึงคราวตกทุกข์
ก็ยังหาสุขได้
- ทุกฺเข
สุขานิ วินฺทติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๗.
คนเรียนน้อย
เจริญแค่เนื้อหนังมังสา
- มํสานิ
ตสฺส วฑฺฒนฺติ.
|
- ๑๘.
มีชีวิตอยู่ด้วยปัญญา
ปราชญ์กล่าวว่าประเสริฐสุด
- ปญฺญาชีวึ
ชีวิตมาหุ เสฏฺฐํ
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๙.
คนเรียนน้อย แก่เปล่า
เหมือนโคถึก
- อปฺปสฺสุตายํ
ปุริโส พลิวทฺโทว ชีรติ.
|
- ๒๐.
คนเรียนน้อย
ปัญญาย่อมไม่พัฒนา
- ปญฺญา
ตสฺส น วฑฺฒติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๑.
ปัญญาเป็นเครื่องปกครองคน
- ปญฺญา
เจนํ ปสาสติ.
|
- ๒๒.
พึงพินิจพิจารณาเรื่องราวโดยรอบคอบ
- โยนิโส
วิจิเน ธมฺมํ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๓.
ผู้รู้จักประโยชน์แล้ว
ย่อมนำสุขมาให้
- ญาโต
อตฺโถ สุขาวโห.
|
- ๒๔.
คนมีปัญญาประเสริฐกว่าคนโง่ที่มียศ
- ปญฺโญว
เสยฺโย น ยสฺสติ พาโล.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๕.
ในหมู่มนุษย์ คนที่ประเสริฐ
คือคนที่ฝีกแล้ว
- ทนฺโต
เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ.
|
- ๒๖.
ความไม่รู้
เป็นมลทินร้ายที่สุด
- อวิชฺชา
ปรมํ มลํ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๗.
เมื่ออ่อนปัญญา
ช่องทางวิบัติก็เกิดได้มหันต์
- ตสฺส
สํหีรปญฺญสฺส วิวโร ชายเต
มหา.
|
- ๒๘.
บัณฑิตไม่ศึกษาเพราะอยากได้ลาภ
- ลาภกมฺยา
น สิกฺขติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๙.
คนไม่มีศิลปวิทยา เป็นอยู่ยาก
- กิจฺฉา
วุตฺติ อสิปฺปสฺส.
|
- ๓๐.
สักวันหนึ่ง
ความรู้ที่เรียนมาจะให้ประโยชน์
- โหติ
ตาทิสโก กาโล ยตฺถ
อตฺถาวหํ สุตํ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๑.
คนมีปัญญา ถึงไร้ทรัพย์
ก็ยังดำรงอยู่ได้
- ชิวเตวาปิ
สปฺปญฺโญ อปิ
วิตฺตปริกฺขา.
|
- ๓๒.
ปราชญ์กล่าวว่าปัญญา
ประเสริฐสุด
- ปญฺญา
หิ เสฏฺฐา กุสลา วทนฺติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๓.
บรรดาความอิ่มทั้งหลาย
อิ่มปัญญาประเสริฐสุด
- ปญฺญาย
ติตฺตีนํ เสฏฺฐํ.
|
- ๓๔.
ปัญญาเป็นเครื่องตรวจสอบสิ่งที่ได้เรียนมา
- ปญฺญา
สุตวินิจฺฉินี.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๕.
คนเกียจคร้าน
ย่อมไม่พบทางแห่งปัญญา
- ปญฺญาย
มคฺคํ อลโส น วินฺทติ.
|
- ๓๖.
สิ่งที่ควรศึกษา
ก็พึงศึกษาเถิด
- สิกฺเขยฺย
สิกฺขิตพฺพานิ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๗.
บรรดาสิ่งที่งอกงามขึ้นมา
วิชาความรู้ประเสริฐสุด
- วิชฺชา
อุปฺปตฺตํ เสฏฺฐา.
|
- ๓๘.
ปัญญาช่วยให้รู้จักสิ่งที่เป็นประโยชน์
- ปญฺญาย
อตฺถํ ชานาติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๙.
ความรู้ที่เรียนมา
เป็นเครื่องพัฒนาปัญญา
- สุตํ
ปญฺญาย วฑฺฒนํ.
|
- ๔๐.
การใฝ่ใจศึกษา
เป็นเครื่องพัฒนาความรู้
- สุสฺสูสา
สุตวฑฺฒนี.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๔๑.
พึงเป็นคนชอบไตร่ถามเพื่อหาความรู้
- ภเวยฺย
ปริปุจฺฉโก.
|
- ๔๒.
บรรดาสิ่งที่โรยราร่วงหายทั้งหลาย
- ความไม่รู้หมดไปได้เป็นดีที่สุด
- อวิชฺชา
นิปตตํ วรา.
|
- ๔๓.
คนมีปัญญาย่อมงอกงาม
- ดังพืชในนาที่งอกงามด้วยน้ำฝน.
- สํวิรุฬฺเหถ
เมธาวี เขตฺเต พีชํว
วุฏฺฐิยา.
|
-
|