- ๑.
คนไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก.
- นตฺถิ
โลเก อนินฺทิโต.
|
- ๒.
ผู้มีความรู้ในทางที่ชั่ว
เป็นผู้เสื่อม.
- ทุวิชาโน
ปราภโว.
|
--------------- |
--------------- |
- ๓.
ผู้มีความรู้ในทางที่ดี
เป็นผู้เจริญ.
- สุวิชาโน
ภวํ โหติ.
|
- ๔. พวกโจร
เป็นเสนียดของโลก.
- โจรา
โลกสฺมิมพฺพุทา.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๕.
ผู้เกลียดธรรม เป็นผู้เสื่อม.
- ธมฺมเทสฺสี
ปราภโว.
|
- ๖.
ผู้เครพผู้อื่น
ย่อมมีผู้เคารพตนเอง.
- ครุ
โหติ สคารโว.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๗.
ควรทำแต่ความเจริญ
อย่าเบียดเบียนผู้อื่น.
- ผาตึ
กยิรา อวิเหฐยํ ปรํ.
|
- ๘.
คนย่อมเป็นที่เกลียดชังเพราะขอมาก.
- เทสฺโส
จ โหติ อติยาจนาย.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๙.
คนเมื่อโกรธแล้ว มักพูดมาก.
- ทุฏฺโฐปิ
พหุ ภาสยิ.
|
- ๑๐.
คนเมื่อรักแล้ว มักพูดมาก.
- พหุมฺปิ
รตฺโต ภาเสยฺย.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๑.
วิญญูชนตำหนิ
ดีกว่าคนพาลสรรเสริญ.
- ครหาว
เสยฺโย วิญฺญูหิ ยญฺเจ
พาลปฺปสํสนา.
|
- ๑๒.
ความคุ้นเคย
เป็นญาติอย่างยิ่ง.
- วิสฺสาสปรมา
ญาตี.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๓.
คำสัตย์แล เป็นวาจาไม่ตาย.
- สจฺจํ
เว อมตา วาจา
|
- ๑๔.
บรรพชิตผู้ไม่สำรวม ไม่ดี.
- อสญฺญโต
ปพฺพชิโต น สาธุ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๕.
สัตบุรุษ ไม่มีในชุมนุมใด
ชุมนุมนั้นไม่ชื่อว่าสภา.
- เนสา
สภา ยตฺถ น สนฺติ สนฺโต.
|
- ๑๖.
สัตบุรุษ
ไม่ปราศรัยเพราะอยากได้กาม.
- น
กามกามา ลปยนฺติ สนฺโต.
|
--------------- |
--------------- |
- ๑๗.
ผู้ฟังมาก ต้องพิจารณาเป็นสำคัญ.
- ปฏิสงฺขานพลา
พหุสฺสุตา.
|
- ๑๘.
มีบางคนในโลกท่ยับยั้งการกระทำด้วยความละอาย.
- หิรินิเสโธ
ปุริโส โกจิ โลกสฺมิ
วิชฺชติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๑๙.
คนจะประเสริฐ ก็เพราะการกระทำ
- และความประพฤติ.
- กมฺมุนา
โหติ พฺราหฺมโณ.
|
- ๒๐. อ่อนไป
ก็ถูกเขาหมิ่น
- แข็งไป
ก็มีภัยเวร.
- ปริภูโต
มุทุ โหติ อติติกฺโข จ
เวรวา.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๑.
คนได้เกียรติ (ชื่อเสียง)
เพราะความสัตย์.
- สจฺเจน
กิตฺตึ ปปฺโปติ.
|
- ๒๒.
สมณะในศาสนานี้
ไม่เป็นข้าศึกในโลก.
- สมณีธ
อรณา โลเก.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๓.
ผู้ขอย่อมไม่เป็นที่รักของผู้ถูกขอ.
- ยาจโก
อปฺปิโย โหติ.
|
- ๒๔.
บุตรเป็นที่ตั้งของมนุษย์ทั้งหลาย.
- ปุตฺตา
วตฺถุ มนุสฺสานํ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๕.
บัณฑิตมีความไม่เพ่งโทษของผู้อื่นเป็นกำลัง.
- นิชฺฌตฺติพลา
ปณฺฑิตา.
|
- ๒๖.
คนมีปัญญาทราม
ย่อมพร่าประโยชน์เสีย.
- หาเปติ
อตฺถํ ทุมฺเมโธ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๒๗.
ไม่ควรขอสิ่งที่รู้ว่าเป็นที่รักของเขา.
- น ตํ
ยาเจ ยสฺส ปิยํ ชิคึเส.
|
- ๒๘.
คนผู้มีสติ มีความเจริญทุกเมื่อ.
- สติมโต
สทา ภทฺทํ.
|
--------------- |
--------------- |
- ๒๙.
คนซื่อตรง ไม่พูดคลาดความจริง.
- น
อุชุภูตา วิตถํ ภณนฺติ.
|
- ๓๐.
ผู้มีปัญญาย่อมไม่ขอเลย.
- น เว
ยาจนฺติ สปฺปญฺญา.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๑.
คนมีสติ ย่อมได้รับความสุข.
- สติมา
สุขเมธติ.
|
- ๓๒. สามี
เป็นเครื่องปรารถนาของสตี.
- ภตฺตา
ปญฺญาณมิตฺถิยา.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๓.
ผู้ไหว้ ย่อมได้รับการไหว้ตอบ.
- วนฺทโก
ปฏิวนฺทนํ.
|
- ๓๔.
ผู้ทำสักการะ
ย่อมได้รับการสักการะ.
- สกฺกตฺวา
สกฺกโต โหติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๕.
ไม่ควรดูหมิ่นลาภของตน.
- สลาภํ
นาติมญฺเญยฺย.
|
- ๓๖.
คนมีสติ เป็นผู้ประเสริฐทุกวัน.
- สติมโต
สุเว เสยฺโย.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๗.
คนอ่อนแอ ก็ถูกเขาดูหมิ่น.
- ปริภูโต
มุทุ โหติ.
|
- ๓๘.
มีญาติมาก ๆ
ยังประโยชน์ให้สำเร็จ.
- สาธุ
สมฺพหุลา ญาตี.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๓๙.
สตรีเป็นสูงสุดแห่งสิ่งของทั้งหลาย.
- อิตฺถี
ภณฺฑานมุตฺตยํ.
|
- ๔๐.
ได้สิ่งใด พึงพอใจในสิ่งนั้น.
- ยํ
ลทฺธํ เตน ตุฏฺฐพฺพํ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๔๑.
บรรดาภริยาทั้งหลาย
- ภริยาผู้เชื่อฟังเป็นผู้ประเสริฐ.
- สุสฺสูสา
เสฏฺฐา ภริยานํ.
|
- ๔๒. ปราชญ์
มีกำลังบริหารให้ประโยชน์สำเร็จได้.
- ธีโร จ
พลวา สาธุ ยูถสฺส
ปริหารโก.
|
--------------- |
--------------- |
- ๔๓.
ความสันโดษด้วยปัจจัยตามมีตามได้
นำสุขมาให้.
- ตุฏฺฐี
สุขา ยา อิตรีตเรน.
|
- ๔๔.
คนมีปัญญาทราม
ย่อมแนะนำในทางที่ไม่ควรแนะนำ.
- อนยํ
นยติ ทุมฺเมโธ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๔๕.
พูดอย่างใด พึงทำอย่างนั้น.
- ยถาวาที
ตถาการี.
|
- ๔๖.
ผู้สงบระงับ ย่อมอยู่เป็นสุข.
- อุปสนฺโต
สุขํ เสติ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๔๗.
มารดาบิดา
ท่านว่าเป็นพรหมของบุตร.
- พฺรหมฺาติ
มาตาปิตโร.
|
- ๔๘.
คนฉลาดย่อมละบาป.
- กุสโล จ
ชหาติ ปาปกํ.
|
- ---------------
|
- ---------------
|
- ๔๙.
พึงประพฤติให้พอเหมาะพอดี.
- อนุมชฺฌํ
สมาจเร.
|
-
|